หลักสูตร อบรมหลักสูตรออนไลน์ การจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร (Purchasing spare parts in maintenance)
การควบคุมอะไหล่หรือ Spare Parts Control ที่ไม่มีประสิทธิภาพจะทำให้เหตุการณ์เครื่องจักรเสียที่รู้สาเหตุและวิธีแก้ไขต้องล้าช้าออกไปเนื่องจากไม่มีอะไหล่ที่จะนำมาใช้ได้ทันที เหตุการณ์ดังกล่าวไม่ว่าจะ ด้วยสาเหตุใด ก็เรียกได้ว่าเป็นปัญหาที่มาจากการควบคุมอะไหล่ โดยมีเป้าหมายการทำ Spare Parts Control คือ
- ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้งานและความน่าเชื่อถือ (Efficiency and Reliability) ของเครื่องจักรอุปกรณ์ผ่านกระบวนการ จัดซื้อ จัดจ้าง และจัดเก็บ ที่มีประสิทธิภาพ
- สร้างความมั่นใจให้กับงาน Breakdown Maintenance และงาน Preventive Maintenance ว่าเมื่อใดก็ ตามที่ต้องการใช้อะไหล่เพื่อการซ่อม หรือเพื่อการบำรุงรักษา ต้องหาได้ในทันทีหรือใช้เวลา น้อยที่สุด
- ลดจำนวนอะไหล่คงคลังหรือ Spare Parts Inventory ให้เหลือน้อยที่สุด เพื่อลดต้นทุนจม เพื่อลดต้นทุนการจัดเก็บ และเพื่อลดพื้นที่ในการจัดเก็บ
วัตถุประสงค์
1. ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้งานและความน่าเชื่อถือ (Efficiency and Reliability) ของเครื่องจักรอุปกรณ์ ผ่านกระบวนการ จัดซื้อ จัดจ้าง และจัดเก็บ ที่มีประสิทธิภาพ
2. สร้างความมั่นใจให้กับงาน Breakdown Maintenance และงาน Preventive Maintenance ว่าเมื่อใดก็ตามที่ต้องการใช้อะไหล่เพื่อการซ่อม หรือเพื่อการบำรุงรักษา ต้องหาได้ในทันทีหรือใช้เวลาน้อยที่สุด
3. ลดจำนวนอะไหล่คงคลังหรือ Spare Parts Inventory ให้เหลือน้อยที่สุด เพื่อลดต้นทุนจม เพื่อลดต้นทุนการจัดเก็บ และเพื่อลดพื้นที่ในการจัดเก็บ
เนื้อหาบรรยาย
เนื้อหาของหลักสูตร
1. การควบคุมอะไหล่คืออะไร (Spare Parts Control) และเป้าหมายของการควบคุมอะไหล่
2. ขั้นตอนการจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักรอย่างมีประสิทธิภาพ
3. ปัจจัยที่สำคัญที่ต้องคำนึงถึงในการจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร
4. ประเภทของการซ่อมบำรุงรักษา
5. การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance)
6. ความหมายของค่า OEE และ Loss time ของเครื่องจักร
7. การจำแนกประเภทของวัสดุหรืออุปกรณ์ในการบำรุงรักษา
8. วิธีการสั่งซื้ออะไหล่
9. การจำแนกประเภทของวัสดุหรืออุปกรณ์ในการบำรุงรักษา
10. ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการกำหนดค่า Stock levels
11. การควบคุมสินค้าคงคลังและการแบ่งกลุ่มสินค้าแบบ ABC (ABC Analysis)
12. การกำหนดปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity) หรือ EOQ
13. Safety Stock ปริมาณสินค้าคงคลังเพื่อความปลอดภัย
14. ตารางและแผนการผลิตหลัก (Master Planning Schedule: MPS)
15. การวางแผนความต้องการวัตถุดิบ MRP (Material Resource Planning)
16. เกณฑ์การประเมินความเสี่ยงหรือการคัดเลือกคุณภาพของ Supplier
17. กลยุทธ์การมีข้อตกลงในระยะยาวสำหรับงานจัดซื้อและจัดหา
18. วิธีการควบคุมปริมาณสินค้าคงคลังให้ลดลงอย่างเหมาะสม
วิทยากร:อนันต์ ดีโรจนวงศ์
- รอบวันที่ 18 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 ถึง 16:00
- รอบวันที่ 23 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 ถึง 16:00
- รอบวันที่ 23 กันยายน 2567 เวลา 09:00 ถึง 16:00
- รอบวันที่ 21 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 ถึง 16:00
- รอบวันที่ 14 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 ถึง 16:00
- รอบวันที่ 4 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 ถึง 16:00
สถานที่: โรงแรมแรมแบรนดท์กรุงเทพ (Rembrandt Hotel Bangkok) ห้อง: null||
ค่าใช้จ่าย 3900 บาท/คน
ลงทะเบียนหรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ https://seminardd.com/s/66005
โทร.094-489-6364 หรือไลน์ไอดี @seminardd
หลักสูตรนี้สามารถจัดเป็น INHOUSE ได้ทั้งรูปแบบ ออนไลน์ และ ไปสอนที่บริษัท
วันที่จัดอบรม
วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม 2567
หน่วยงาน/บริษัท :
SeminarDD Academy
ชื่อผู้ติดต่อ :
ผู้จัดงาน
โทร :
097-474-6644
Tags :
ข้อมูลผู้ลงประกาศ
หมายเลขประกาศ
11749
ลงประกาศวันที่
12 กรกฎาคม 2567 เวลา 22:06 น.
หมวดหมู่หลัก
อบรมอื่น ๆ ที่น่าสนใจ
ลักษณะงาน
มีค่าใช้จ่าย
ราคา
3900
หน่วยงาน/บริษัท
SeminarDD Academy
ชื่อผู้ติดต่อ
ผู้จัดงาน
เบอร์โทรศัพท์
097-474-6644