กฎหมายแรงงานสำหรับการบริหารงานบุคคล
หัวข้อสัมมนา
1. สาระสำคัญของกฎหมายแรงงานที่นายจ้าง ลูกจ้าง ต้องรู้เพื่อความถูกต้องในการปฎิบัติ
▪ กำหนดโดยข้อตกลงสัญญาจ้าง, ข้อตกลงสภาพการจ้างในการทำสัญญา
2. หน้าที่ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารตามกฎหมายแรงงาน
▪ การมอบหมายงานในหน้าที่ คำสั่งโยกย้ายตำแหน่งหน้าที่ คำสั่งย้ายสถานที่ทำงาน
3. เทคนิคการใช้ข้อบังคับในการทำงาน การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างจะต้องปฏิบัติอย่างไร ตามกฎหมายที่แก้ไขใหม่?
▪ กรณีนายจ้างแก้ไขสภาพการจ้างฝ่ายเดียวทำได้หรือไม่
▪ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างต้องปฏิบัติอย่างไร?
4. นายจ้างหรือผู้บริหารจะกำหนดวัน เวลาทำงานเวลาทำงานปกติ เวลาพัก วันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผ่อนประจำปี วันลาอย่างไร
- การกำหนดระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการทำงานในแต่ละวัน และต่อสัปดาห์
- นายจ้างต้องจัดเวลาพักให้กับลูกจ้างหลังจากทำงานติดต่อกัน กี่ชั่วโมง
- กรณีลูกจ้างทำงานล่วงเวลา จะต้องจัดเวลาพักอย่างไร?
- การสลับวันทำงาน หากลูกจ้างยินยอมนายจ้างสามารถทำได้หรือไม่?
- การจัดวันหยุดประจาสัปดาห์จะต้องหยุดอย่างไร? จำนวนเท่าไหร่?
- หลักเกณฑ์การกำหนดวันหยุดตามประเพณี
- จำนวนสิทธิวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามกฎหมาย
- กรณีเลิกจ้าง การจ่ายค่าจ้างตามวันหยุดพักผ่อนประจำปีจะต้องคำนวณอย่างไร?
- วันลามีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? และมีสิทธิอย่างไร?
5. กฎหมายคุ้มครองแรงงาน ปี2560 มีอะไรบ้างที่ปรับเปลี่ยน
6. ค่าจ้าง จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์อะไรบ้าง
▪ องค์ประกอบสำคัญของคำว่า “ค่าจ้าง”
▪ หลักเกณฑ์การจ่ายค่าจ้าง ค่าตอบแทน ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด (รวมทั้งกรณีเป็นลูกจ้างรายวันและรายเดือน)
▪ หลักเกณฑ์การจ่ายอัตราค่าล่วงเวลาค่าทำงานในวันหยุด
▪ การสลับวันทำงาน หากลูกจ้างยินยอม นายจ้างสามารถทำได้หรือไม่?
7. การดำเนินการลงโทษทางวินัย จะต้องพิจารณาและมีขั้นตอน อย่างไร?
▪ กรณีลูกจ้างกระทำผิดร้ายแรงและกระทำผิดไม่ร้ายแรง แตกต่างกันอย่างไร? และมีประเด็นใดในการพิจารณา
▪ ขั้นตอนในการลงโทษทางวินัยที่ถูกต้องตามกฎหมาย
▪ การออกหนังสือเตือน จะต้องดำเนินการอย่างไร?
▪ หลักเกณฑ์การเลิกจ้าง นายจ้างจะต้องดำเนินการอย่างไร?
8. กรณีลูกจ้างเกษียณอายุ
▪ หลักเกณฑ์ใหม่ กรณีเกษียณอายุจะต้องปฏิบัติอย่างไร?
▪ หลักเกณฑ์การเกษียณอายุจะต้องเขียนในระเบียบข้อบังคับการทำงานหรือไม่
▪ กรณีมีการจ้างงานหลังเกษียณอายุจะต้องจ่ายค่าชดเชย ก่อนหรือหลังจากการเริ่มงานใหม่
▪ กรณีลูกจ้าง “เสียชีวิต” หลังจากการจ้างงานต่อจากการเกษียณอายุ นายจ้างจะต้องทำอย่างไร?
วิทยากร ดร.ชยุตพงศ์ นิลอ่อน
กรรมการสายแรงงานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ทนายความด้านคดีแรงงาน คดีปกครอง คดีทรัพย์สินทางปัญญา
หัวหน้าทีมตรวจประเมินระบบการจัดการคุณภาพ ISO 9001:2008 สิ่งแวดล้อม ISO 14001:2004 ความปลอดภัย OHSAS18001:2007
ที่ปรึกษากฎหมายให้กับสำนักงานส่งเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(สสว)
วิทยากรขึ้นทะเบียนกระทรวงแรงงานสอนเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานทุกระดับ
วิทยากรที่ปรึกษาสถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ ( สปร ).
ที่ปรึกษาด้านบริหารบุคคล สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ทะเบียน 51-0-00-452
ที่ปรึกษาด้านกฎหมายแรงงาน กฎหมายเกี่ยวกับโรงงานอุตสาหกรรม/กฎหมายพิเศษ /กฎหมายปกครอง
อัตราค่าลงทะเบียน
(รวมค่าเอกสาร อาหารกลางวัน และอาหารว่างตลอดการสัมมนา)
ค่าอบรม |
ราคาก่อน VAT |
VAT 7% |
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 3% |
ราคาสุทธิ |
ราคาท่านละ |
3,900 |
273 |
(117) |
4,056 |
Early Bird สมัครและชำระค่าอบรมก่อนลดพิเศษ |
3,500 |
245 |
(105) |
3,640 |
วันที่จัดอบรม
วันพุธที่ 25 กรกฎาคม 2561
หน่วยงาน/บริษัท :
PTS Training
ชื่อผู้ติดต่อ :
Aranya Chaidejsuriya
โทร :
0868929330
Tags :
ข้อมูลผู้ลงประกาศ
หมายเลขประกาศ
7312
ลงประกาศวันที่
16 มิถุนายน 2561 เวลา 09:15 น.
หมวดหมู่หลัก
อบรม กฎหมายธุรกิจ-ภาษี
ลักษณะงาน
มีค่าใช้จ่าย
ราคา
3900
หน่วยงาน/บริษัท
PTS Training
ชื่อผู้ติดต่อ
Aranya Chaidejsuriya
เบอร์โทรศัพท์
0868929330