QC 7 Tools for Improvement
วันที่ 20 กันยายน 2560
โรงแรมเซนต์เจมส์ สุขุมวิท 26
หลักการและเหตุผล
QC 7 Tools เป็นกลุ่มเครื่องมือทางสถิติที่ใช้งานอย่างง่ายสำหรับการปรับปรุงคุณภาพและการบริหารจัดการ 7 ชนิด เพื่อที่สามารถนำมาช่วยในการแสดงผลและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ ในการพัฒนากระบวนการผลิตหรือการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิผล ซึ่งถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางในองค์กรธุรกิจของญี่ปุ่นและแพร่หลายไปสู่องค์กรอื่นๆ เนื่องจากเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ปัญหาในเชิงคุณภาพและเชิงการจัดการที่ใช้ข้อมูลและข้อเท็จจริงในการสืบค้นหาความเชื่อมโยงระหว่างปัญหาและสาเหตุที่อย่างมีตรรกะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตและพัฒนาขีดความสามารถของบุคคลากรให้มีประสิทธิภาพในกระบวนการทำงานนำมาสู่การเพิ่มผลผลิต (Productivity) และปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) จึงทำให้ผู้แก้ไขปัญหาสามารถกำหนดมาตรการได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและมีสัมฤทธิผล
ดังนั้นหลักสุตรนี้มุ่งเน้นการทำให้มีกิจกรรมให้เกิดทักษาในการประยุกต์ใช้เครื่องมือคุณภาพ 7 ชนิด (QC 7 Tools) มาปฏิบัติงานเพื่อเป็นพื้นฐานในการวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นรูปธรรรม ทั้งเป็นการเพิ่มศักยภาพของพนักงานให้เกิดการปรับปรุงกระบวนการทำงานและทำให้องค์กรเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันสูงสุดในในการดำเนินธุรกิจยุคปัจจุบันได้อีกด้วย
วัตถุประสงค์ / ประโยชน์ที่จะได้รับ
1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับงานด้านคุณภาพและการปรับปรุงคุณภาพในกระบวนการผลิต
2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีแนวคิดพื้นฐานการลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตด้วยหลักการ PDAC และ ECRS อย่างเป็นระบบ
3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำเครื่องมือคุณภาพ 7 ชนิด (QC 7 Tools) ในการวิเคราะห์ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงเทคนิคและวิธีการใช้ที่ถูกต้องเหมาะสมในการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานได้
หัวข้อการอบรม / สัมมนา
หลักแนวคิดและหัวใจสำคัญเกี่ยวกับ “ปัญหา , คุณภาพ และ มาตรฐาน”
หลักความสำคัญของการเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงงานด้วยจิตสำนึกแบบทุกคนมีส่วนร่วม
การสร้างความตระหนักและจิตสำนึกจากความท้าทายใน ”ต้นทุนคุณภาพ” และ“การควบคุมคุณภาพ”
อะไรคือ ของเสีย (Defect) และมีปัจจัยเกิดขึ้นได้จากสาหตุใด ?
แนวคิดกระบวนการแก้ไขปัญหาตามแนวคิด PDCA และการเพิ่มผลผลิตด้วยหลักการ ECRS
• การกำหนดประเด็นปัญหาและการทำความเข้าในปัญหา
• การวิเคราะห์โครงสร้างของปัญหาและสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา
• การกำหนดมาตรการแก้ไขและการนาไปปฏิบัติ
• การกำหนดมาตรการแก้ไขและประเมินประสิทธิผล
- คุณสมบัติเครื่องมือเครื่องมือคุณภาพ 7 ชนิด และขั้นตอนการใช้งานให้ประสบผลสำเร็จแก่องค์กร
1. ใบตรวจสอบ (Check Sheet)
2. แผนภูมิพาเรโต (Pareto Chart)
3. ฮิตโตแกรม (Histogram)
4. แผนภาพการกระจาย (Scatter Diagram)
5. แผนภาพสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)
6. กราฟ (Graph) เช่น กราฟแท่ง , กราฟเส้น , กราฟวงกลม , กราฟเรด้า
7. แผนภูมิควบคุมคุณภาพ (Control charts)
- ตัวอย่างกรณีศึกษาการดำเนินกิจกรรมที่ประสบผลสำเร็จ (Best Practice)
- สรุปการเรียนรู้และถามตอบ
วิทยากร อาจารย์พิทักษ์พงษ์ จัตุชัย
วิทยากรผู้เชียวชาญด้านการบริหารจัดการงานอุตสาหกรรมการผลิตและการพัฒนากิจกรรมด้านการเพิ่มผลผลิตในองค์กร จากประสบการณ์ในการทำงานในองค์กรธุรกิจชั้นนำกว่า 15 ปี ทั้งได้รับเกียรติเชิญไปบรรยายในมหาวิทยาลัยและองค์กรธุรกิจชั้นนำหลายแห่ง
Fee Seminar/ อัตราค่าลงทะเบียน ต่อ 1 คน
(รวมค่าวิทยากร เอกสารบรรยาย)
ค่าอบรม (Seminar Fee)
|
ราคาก่อน VAT
|
VAT 7%
|
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 3%
|
ราคาสุทธิ
|
ค่าสัมมนา / 1 ท่าน
|
3,500
|
245
|
(105)
|
3,640
|
Pro 1 สมัคร 3 ท่าน/รุ่น
|
9,900
|
693
|
(297)
|
10,296
|
Pro 2 สมัคร 5 ท่าน/รุ่น
|
16,000
|
1,120
|
(480)
|
16,640
|
ทุกหลักสูตร “มอบวุฒิบัตร ใบรับรองจากสถาบันโปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง โซลูชั่น
รายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ: คุณอรัญญา 080-2545660
Professional Training Solution
Tel 02-1753330, 086-6183752
www.ptstraining.in.th
E-mail : [email protected]