59 ประเด็นทางภาษีสรรพากรสำหรับแพทย์ โรงพยาบาล คลินิก สถานพยาบาล สถานเสริมความงาม พร้อมการวางแผนภาษี
1. Update กฎหมายภาษีที่เกี่ยวกับ แพทย์ และโรงพยาบาล
- อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
- การหักค่าใช้จ่าย, การหักค่าลดหย่อนตามหลักเกณฑ์ใหม่
- อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
- การตรวจสอบภาษีของสรรพากร
2. ภาระภาษีทั้งระบบของแพทย์ , โรงพยาบาล
- ความสัมพันธ์ของแพทย์และโรงพยาบาลกับภาระภาษีที่ต้องระวัง
- การวางแผนการทำสัญญาระหว่างแพทย์ กับโรงพยาบาล
3. การจัดเก็บภาษีของสรรพากรเกี่ยวกับเงินได้ของแพทย์ และความแตกต่างของแต่ละประเภทเงินได้
- การจ้างแรงงาน มาตรา 40 (1)
- เงินได้จากการรับทำงานให้ มาตรา 40 (2)
- เงินได้จากวิชาชีพอิสระมาตรา 40(6)
- เงินได้จากการประกอบธุรกิจโรงพยาบาล มาตรา 40 (8)
4. ภาระภาษีสำหรับเงินได้ที่แพทย์ได้รับ
- ทำงานได้รับเงินเดือน, ค่าจ้าง เป็นรายเดือน
- เข้าไปตรวจรักษาให้ตามบริษัท ตามกำหนดวัน เวลาที่ บริษัทกำหนด / ไปตรวจตามบ้านกรณีฉุกเฉิน
- มีรายได้จากการไปตรวจรักษานอกเวลากับสถาน พยาบาลต่างๆ
- เงินค่าล่วงเวลาจากการเข้าเวร หรือค่าตอบแทนพิเศษใน การรักษาผู้ป่วยที่ทางโรงพยาบาลจ่ายเพิ่มให้
- เปิดคลินิกส่วนตัว ทั้งทำในนามของบุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล ภาระภาษีต่างกันหรือไม่
- เปิดคลินิกในสถานพยาบาลหรือโรงพยาบาลที่ตนเอง ทำงานโดยมีสัญญาหรือข้อตกลงกันทั้งกรณีเช่าสถานที่ และแบ่งรายได้จากการรักษา
- กรณีเช่าสถานที่เปิดคลินิก แต่ให้โรงพยาบาลเป็นผู้เก็บ ค่ารักษาพยาบาลเองและแบ่งรายได้กันระหว่างแพทย์กับ โรงพยาบาล
- คลินิก, สถานเสริมความงาม กับปัญหาภาษีในการจ่าย เงินให้แพทย์
- มีรายได้จากการนำคนไข้เข้ามารักษาในโรงพยาบาลที่ แพทย์ทำงานอยู่ประจำและไม่ประจำ
- แพทย์ไปเปิดสถานพยาบาล มีเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
5. การวางแผนภาษีเงินได้ของแพทย์
- ข้อดีข้อเสียเมื่อเลือกรูปแบบธุรกิจบุคคลธรรมดากับนิติบุคล
6. แพทย์และสถานพยาบาลต้องเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือไม่
- กรณีหลงผิดจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจะมีวิธีแก้ไขอย่างไร
7. ถ้าสถานพยาบาลมีรายได้อื่น มีภาระภาษีอะไรบ้าง
- ใช้บ้านของแพทย์เป็นสถานประกอบการ
- การเลือกรูปแบบองค์กรเพื่อการวางแผนภาษี
- การขอถอนทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มต้องทำอย่างไร
- ให้โรงพยาบาลอื่นยืมอุปกรณ์ทางการแพทย์
- รับจัดสัมมนา
- การตั้งบู๊ทขายสินค้า
- การให้ใช้ห้องประชุม
- สปา / ดีท็อกซ์
- Food Center, ร้านอาหาร
- บริการนวดแผนไทย
- ให้เช่าสถานที่เพื่อเปิดเป็นร้านค้า
8. ภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลของสถานพยาบาล โรงพยาบาล และการวางแผนภาษี
- การรับรู้รายได้ของโรงพยาบาล
- การรับรู้รายได้คลินิกพิเศษ
- สถานเสริมความงามถือเป็นสถานพยาบาลหรือไม่
- การนำธุรกิจโรงพยาบาลไปขอส่งเสริมการลงทุนจาก BOI
- การบันทึกทรัพย์สินของโรงพยาบาล (อุปกรณ์การแพทย์จะคิดค่าเสื่อมหรือลงเป็นรายจ่ายทั้งจำนวน)
- การมี Contract ระหว่างโรงพยาบาลในการส่งผู้ป่วย, การใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์, ห้องพักของคนไข้ มีภาระ ภาษีอย่างไร
9. ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ที่เกี่ยวข้องกับกิจการโรงพยาบาล
- กรณีบริษัทจ่ายค่าตรวจสุขภาพประจำปีของพนักงาน ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย สถานพยาบาลหรือไม่
- รายได้จากการรักษาพยาบาล
- กรณีบริษัทจ่ายค่ายาให้โรงพยาบาลต้องหักภาษีหรือไม่ (ฟรีค่าตรวจ คิดแต่ค่ายา)
10. ประเด็นร้อนที่แพทย์และโรงพยาบาลมักถูกสรรพากร ประเมิน
11. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบ วิชาชีพบัญชี
รายละเอียดเพิ่มเติม.
http://www.dst.co.th/index.php?option=com_booking&view=booking&cid=6601&Itemid=145&lang=th
***หมายเหตุ***กรุณาสำรองที่นั่งก่อนเข้าอบรม โทร 02-5550751
http://www.dst.co.th/index.php?option=com_booking&view=register&cid=6601&Itemid=145&lang=th
วันที่จัดอบรม
วันอังคารที่ 13 มิถุนายน 2560
หน่วยงาน/บริษัท :
บริษัท ฝึกอบรมและสัมมนาธรรมนิติ จำกัด
ชื่อผู้ติดต่อ :
ศิริวรรณ
โทร :
Tags :
ข้อมูลผู้ลงประกาศ
หมายเลขประกาศ
5547
ลงประกาศวันที่
2 พฤษภาคม 2560 เวลา 03:34 น.
หมวดหมู่หลัก
อบรม กฎหมายธุรกิจ-ภาษี
ลักษณะงาน
มีค่าใช้จ่าย
ราคา
5,029
หน่วยงาน/บริษัท
บริษัท ฝึกอบรมและสัมมนาธรรมนิติ จำกัด
ชื่อผู้ติดต่อ
ศิริวรรณ