LEAN TRANSFORMATION การเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจไปสู่ลีน
LEAN TRANSFORMATION การเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจไปสู่ลีน
หลักการและเหตุผล (About the Event)
ขับเคลื่อนการเปลี่ยนรูปธุรกิจไปสู่ ลีน เพื่อลดต้นทุนให้ต่ำสุด คุณภาพสูงสุด โดยใช้เวลาในกระบวนการจนถึงการ ส่งมอบให้กับลูกค้าให้น้อยที่สุด (Driving business transformation to LEAN for least operating costs, top quality and least processing time)
- อนาคตกำลังไล่ล่าคุณ LEAN ปฏิวัติระบบการทำงานไปแล้วโดยสิ้นเชิง (Future is hunting you; LEAN has completely evolved working methods.)
- การเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจไปสู่ LEAN หมายความว่าอย่างไร? จะเริ่มต้นที่จุดไหน (What is the meaning of business transformation? Where should begin?)
- วิเคราะห์ปัญหาโดยการสร้าง Value stream mapping เพื่อค้นหาจุดคอขวด และปรับปรุง (Analyze flowing bottlenecks by value stream mapping)
- จะพัฒนาคนให้มีขีดความสามารถในระบบ LEAN ได้อย่างไร (How to develop employees to LEAN working processes?)
- อะไรคือความสูญเสีย 8 ประการ (8 wastes) มีแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้สำเร็จอย่างยั่งยืนได้อย่างไร
- สร้างวัฒนธรรมการค้นหา-บ่งชี้ ขั้นตอนงานที่ไม่มีประโยชน์ (NVA) และปรับปรุงแก้ไข (Building organization culture to analyze non value added working activities and improvement )
- วิธีใช้เครื่องมือคุณภาพ เช่น Brainstorming, Pareto chart, Why-Why-analysis and How, T-Chart (How to apply quality tools such as brainstorming, Pareto chart, Why-Why analysis and how etc.)
- อะไรคือปัจจัยสำคัญสู่ความสำเร็จในการนำแนวทางต่างๆ ของแนวคิดแบบ LEAN มาปฏิบัติอย่างยั่งยืน (What are sustainable key success factors to implement LEAN working process?)
เคล็ดลับ "การเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจไปสู่ LEAN” ทำให้ท่านสามารถนำมาสร้างความสำเร็จกับองค์กรของท่านได้ แนวคิดและข้อมูลที่นำเสนอในการสัมมนาครั้งนี้ สามารถนำไปปรับใช้กับธุรกิจได้ทุกประเภท นอกจากโรงงานแล้ว ยังรวมไปถึงธุรกิจบริการ อย่างเช่น โรงพยาบาล ธนาคาร สถาบันการเงิน การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การก่อสร้างและอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งนี้ยังมีผู้ที่มีความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องอีกเป็นอันมากว่า ระบบลีนจำกัดอยู่เฉพาะการผลิตเท่านั้น แต่ข้อมูลในการสัมมนาครั้งนี้จะแสดงให้เห็นว่า ระบบลีนสามารถนำไปปรับใช้กับธุรกิจใดๆ ก็ตามที่แสวงหาแนวทางในการลดเวลาในกระบวนการทำงาน เพื่อส่งมอบ สินค้า งาน ข้อมูล เอกสาร ให้ได้ตามเป้าหมายและ เพื่อนำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่เปี่ยมด้วยคุณภาพ
งานทุกงานมี 8 Waste ทั้งสิ้น ในประเทศที่พัฒนาแล้ว Lean ถูกนำไปใช้อย่างกว้างขวาง เพราะ Lean กำลังเปลี่ยนการทำงานของโลก (There are 8 wastes in every organization, LEAN is widely used in the developed countries, LEAN is changing the world)
วัตถุประสงค์ (objective) .
- เพื่อให้องค์กรผู้เข้าร่วมสัมมนาตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนรูปธุรกิจไปสู่ Lean
(Stimulate participated organizations realize the necessitate of changing to Lean)
- Lean ใช้ได้กับองค์กรที่มุ่งขจัดความสูญเสีย 8 ประการ เพื่อลดต้นทุน เพิ่มคุณภาพ และลดเวลางาน
(Lean is widely applicable to organizations who aims to eliminate 8 deadly wastes)
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนารู้ว่าจะเริ่มต้นทำ Lean ที่จุดไหน ทำอย่างไร
(Enable participants to know where to start Lean process and how to implement)
- องค์กรมีความสามารถในการลดต้นทุน ลดเวลาส่งมอบสินค้าและบริการ ผลงานที่มีคุณภาพสม่ำเสมอ
(Capacity building organization in costs reduction, shortening delivery lead time and best quality)
- องค์กรเพิ่มระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน
(Increasing competitiveness)
สิ่งที่ท่านจะได้เรียนรู้ (What you will learn) .
- ความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับปรัชญาของ LEAN (LEAN deep understanding in LEAN philosophy)
- จะเริ่มต้น สร้างระบบ LEAN ที่จุดไหน เริ่มอย่างไร (How to start to implement LEAN and where?)
- การเขียนแผนผังสายธารแห่งคุณค่าเพื่อให้ตระหนักถึงสถานการณ์ปัจจุบัน (Value stream mapping to analyze the current situation)
- LEAN เริ่มตั้งแต่องค์กรของเรา ลูกค้า ลูกค้าของลูกค้า (Scope of lean starts from suppliers of supplier, supplier—our organization—customers—customers of customer)
- ได้เรียนรู้เรื่อง flow diagram, flow chart, man and machine chart
- เรื่องเทคนิคการวัดเวลาการทำงาน Throughput time การวัด cycle time, Take time
- การปรับเรียบโดย Line balancing
- 8 wastes และวิธีการขจัด
- CI-Kaizen การปรับปรุงคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
- การพัฒนา สมรรถนะ พนักงาน (Employee competency development)
- การซ่อมบำรุงแบบทวีผล (Total Productive Maintenance)
- แนวทางสู่ความสำเร็จอย่างยั่งยืน (The way to sustainable successful)
กลุ่มเป้าหมาย (Who should attend?) .
- ผู้บริหารอาวุโส (Senior management)
- กรรมการผู้จัดการ (Managing Director)
- ผู้บริหารโรงงานทุกระดับ (Factory management all levels)
- ผู้บริหารโรงพยาบาล ธุรกิจดูแลสุขภาพ Healthcare ทุกระดับ (Hospital management and healthcare business all levels)
- ผู้บริหารโครงการก่อสร้างทุกระดับ (Construction management all levels)
- ผู้บริหาร Logistics บริษัทขนส่งทุกระดับ (Logistics management all levels)
- ผู้บริหารบริษัทการเงิน ธนาคาร (Financial institutes)
- ผู้บริหารสถานศึกษา (Education institutes)
- ผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐ (Government sector)
- ผู้บริหารห้างสรรพสินค้า (Department stores)
- วิศวกรกระบวนการผลิต (Manufacturing engineer)
- วิศวกรอุตสาหกรรม (Industrial engineer)
- ผู้ทำงานเกี่ยวกับการผลิตแบบ Lean (Lean transformation leader)
- ผู้อบรมประจำองค์กรต่างๆ (Trainers, Speakers)
วิทยากร (Speaker) .
อาจารย์พิสิทธิ์ ชูยงค์ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Productivity improvement ของ องค์การสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนาการค้า UNCTAD (United Nations Conference for Trade Development) และ USAID (United State Aid for International Development) และผู้เชี่ยวชาญในระดับสากลว่าด้วยการผลิตแบบลีน อาจารย์มีประสบการณ์ตรงจากการเคยเป็นวิศวกรอุตสาหการ ผู้จัดการฝ่าย Industrial engineering, Production manager, Factory manager, General manager, และวางระบบ Lean ในโรงงานมาตั้งแต่ปี 1987 นอกจากนี้ยังได้มีส่วนในการช่วยให้องค์กรอื่น ๆ นำแนวทางดังกล่าวไปปฏิบัติจนได้รับความสำเร็จอย่างมหาศาล โดยในการสัมมนาครั้งนี้ อาจารย์พิสิทธิ์ ชูยงค์ จะมาร่วมแบ่งปันประสบการณ์กับท่านถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้มา ในการทำความเข้าใจวัตถุประสงค์และพลังแห่งการปฏิบัติตามวิถีแห่งลีน
ตารางการอบรม Agenda .
08:30 น. ลงทะเบียน วาระการประชุม
09:00 น. เปิดตัวการสัมมนา Lean transformation การเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจไปสู่ LEAN
Lean คืออะไร? (What is LEAN?)
- วิวัฒนาการ LEAN มาจากไหน?
- Lean เปลี่ยนโลกนี้ได้อย่างไร?
- จาก Just-In-Time สู่ Lean ในองค์กร สู่ Lean ทั้ง business จากต้นน้ำ-กลางน้ำ-สู่ลูกค้า
วิเคราะห์กระบวนการระดับ Macro ด้วย การสร้าง Value Stream Mapping
(Analyze macro-process with value stream mapping)
- ออกแบบ flow diagram ตั้งแต่ ผู้ส่งมอบ ของ ผู้ส่งมอบ—ผู้ส่งมอบ—กระบวนการภายในองค์กร—ลูกค้า—ลูกค้าของลูกค้า
- วิเคราะห์บ่งชี้จุดคอขวด การประเมินผู้ส่งมอบ พัฒนาผู้ส่งมอบ capacity planning, E-Kanban, SKU, suppliers quality management, electronic data interchange (EDI)
10:15 น. พักรับประทานอาหารว่าง
ชนิดของกระบวนการทำงาน-กระบวนการเอกสาร-การผลิต-ข้อมูล
(Type of working and manufacturing processes)
- แบบต่อเนื่อง
- แบบผสม ต่อเนื่อง+ไม่ต่อเนื่อง
- แบบไม่ต่อเนื่อง
จัดทำกระบวนการทำงานภายในองค์กร ด้วย Flow process chart, ให้ผู้เข้าร่วมทดลองทำ
(Design lean process in organization with flow process chart, participants practice)
- ชี้ให้เห็นขั้นตอนที่เป็นการปฏิบัติงานจริงๆ (operation) มีกี่ขั้นตอน
- ชี้ให้เห็นขั้นตอนที่ปรับปรุงได้เช่น เคลื่อนย้ายวัสดุ เครื่องมือ เอกสาร คนไข้ ระยะทางและจำนวนครั้ง
- ขั้นตอนที่ต้องทำการตรวจสอบ กี่ครั้งและกี่นาที
- ขั้นตอนที่ล่าช้าก็จะปรากฏ เกิดการรอ กี่ครั้งและกี่นาที
- ขั้นตอนที่กองเก็บ-รอ กี่ครั้ง ก็จะมองเห็น และกี่นาที
- วิธีปรับปรุงงานด้วย ECRS
การวัดเวลาการทำงาน (Time measurement)
- 3 T มีอะไรบ้าง?
- Throughput time หรือเวลารวมทั้งหมด
- Takt time คืออะไร ใช้ในการวางแผนงานได้อย่างไร?
- Cycle time คืออะไร วิธีวัด C/T, allowance ต่างๆ
12:00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น. ความสูญเสีย 8 ประการที่ต้องขจัดในระบบ LEAN (8 deadly wastes to eliminate)
- Over production
- WIP มากเกินไป แก้ได้โดย
- Kanban คัมบัง
- Just-In-Time : 3 R---Right item—Right time---Right quantity
- One piece flow
- การบวนการย่อยไม่ต่อเนื่องกับกระบวนการหลักแก้ไขโดย
- วิเคราะห์กระบวนการภายในองค์กร-แผนก ด้วย Flow chart
- ทำ Kanban, 3 R
- ของเสีย-งานผิด หรือ Defects แก้ไขโดย
- กระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง CI-Kaizen…P-D-C-A
- การเคลื่อนย้ายที่เสียเวลา แก้ไขโดย
- วิเคราะห์การไหลของงานด้วย Flow chart
- วางผังเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ใหม่ ระบบ 5 ส
- การเคลื่อนไหวมือการหยิบ การวางที่เสียเวลา
- ออกแบบอุปกรณ์ช่วยงาน
- วิเคราะห์ด้วย Man & Machine chart
- เวลารอที่เสียเวลาต่างๆ
- ถ้าเกิดจาก supplier ก็ร่วมกันพัฒนาปรับปรุงแก้ไข
- ถ้าเกิดจาก ลูกค้า ก็ร่วมกันพัฒนาปรับปรุงแก้ไข
- ถ้าเกิดจาก กระบวนการทำงานภายในองค์กรก็พัฒนากระบวนการลูกค้าภายใน ยึด 3 R
- ทำรายงานบันทึกเวลารอที่เสียเวลาต่างๆ เสนอต่อ management
- องค์กรไม่ได้ใช้ความสามารถของคน แก้โดยพัฒนา competency
- คัดเลือกคนที่เหมะสม จาก Job specifications
- การวัด competency ด้วย competency dictionary
- ทำ Skill Matrix
- ฝึกอบรม gab ความรู้ความชำนาญ
15:00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
16:30 น. การซ่อมบำรุงแบบทวีผล ( Total Productive Maintenance : TPM)
- TPM คืออะไร? มีวัตถุประสงค์อย่างไร? มีองค์ประกอบอย่างไรบ้าง?
- การแบ่งบทบาทหน้าทีของ Machine operator และ บทบาทหน้าที่ของช่างซ่อมบำรุง
- 7 ขั้นตอนมุ่งสู่ การบำรุงรักษาแบบอิสระด้วยตนเอง Autonomous Maintenance (AM)
- 8 เสาหลักของ TPM
- 12 ขั้นตอนในการ implement TPM
- การวัดผลงาน TPM
16:30 น. ช่วงตอบคำถาม การแจกลายเซ็นต์
วันที่ 23 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ สุขุมวิท 22 (09.00 น. - 16.30 น.)
วันที่จัดอบรม
วันพุธที่ 23 มีนาคม 2559
หน่วยงาน/บริษัท :
AIM Training
ชื่อผู้ติดต่อ :
Napatsorn Suanngampol
โทร :
0987500542
ข้อมูลผู้ลงประกาศ
หมายเลขประกาศ
2857
ลงประกาศวันที่
2 มีนาคม 2559 เวลา 11:30 น.
หมวดหมู่หลัก
อบรม การบริหารจัดการ-กลยุทธ์ธุรกิจ
ลักษณะงาน
มีค่าใช้จ่าย
ราคา
หน่วยงาน/บริษัท
AIM Training
ชื่อผู้ติดต่อ
Napatsorn Suanngampol
เบอร์โทรศัพท์
0987500542