THE TOYOTA WAY (วิถีแห่งโตโยต้า)
หลักการและเหตุผล (About the Event)
ขับเคลื่อนการพัฒนาและการสร้างวัฒนธรรมการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องผ่านวิถีแห่งโตโยต้า
Driving Continuous Improvement and Innovation THE TOYOTA WAY
กระบวนการผลิตได้วิวัฒนาการมาตั้งแต่ปี 1850 เมื่อ Whitney ได้ทำชิ้นส่วนของเครื่องให้เป็นมาตรฐานสามารถใช้สับเปลี่ยนกันได้ ในปี1900 Frederick Taylor เป็นริเริ่มทำการผลิตเป็น Process ในปี 1950 Edward Deming เป็นผู้คิดทฤษฏีในการปรับปรุงคุณภาพเริ่มที่ Toyota จนกระทั่ง Toyoda และ Ono วิวัฒนาการมาเป็นระบบ TPS เราจะเห็นได้ว่า การผลิตแบบToyota คือวิวัฒนาการทางการผลิตของมวลมนุษย์ซึ่งจะมาแทนที่ระบบการทำงานแบบเดิม ดังมีสาระสำคัญคือ
o ปรัชญา “วิถีแบบโตโยต้า” คือ อะไร หลักการที่สำคัญคืออะไร (What it means to “Be Lean”)
o อะไรคือแนวทางสู่ความสำเร็จอย่างยั่งยืน (How to achieve long-term success)
o จะสร้างการไหลของวัตถุดิบ/สินค้า/คนไข้/เอกสาร/ข้อมูลในกระบวนการอย่างต่อเนื่องจากต้นน้ำสู่ปลายน้ำได้อย่างไรด้วย Value stream mapping
o 8 deadly wastes ในกระบวนการทำงาน จะปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
o หยุดระบบการทำงานแบบ Push ที่ทำให้เกิดคอขวด ใช้ระบบ Pull เพื่อให้งานไหลเร็ว
o ทำไมต้องสร้างวัฒนธรรม ”หยุด” และแก้ไขปัญหาทันที ไม่เอาไว้แก้ภายหลัง
o พัฒนาบุคลากร เพื่อพัฒนากระบวนการ สู่ Right process resulting in right Quality
o การสมดุลกระบวนการ Take time คืออะไร การวางแผนด้วย Take time ทำอย่างไร
o CI - Kaizen เริ่มที่ใคร จะนำ P-D-C-A มาใช้ในระดับฝ่าย ระดับแผนก ระดับผู้ทำงานได้อย่างไร
o Toyota Production System (TPS) ต้นกำเนิดของ Lean มีหลักการอย่างไร
แนวคิดและข้อมูลที่นำเสนอในการสัมมนาครั้งนี้ สามารถนำไปปรับใช้กับธุรกิจได้ทุกประเภท นอกจากโรงงานแล้ว ยังรวมไปถึงงานอื่น อย่างเช่น หน่วยงานภาครัฐ ห้างสรรพสินค้า สถานศึกษา โรงพยาบาล ธนาคาร สถาบันการเงิน การก่อสร้างและอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งนี้ยังมีผู้ที่มีความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องอีกเป็นอันมากว่า วิถีแบบโตโยต้าจำกัดอยู่เฉพาะการผลิตเท่านั้น แต่ข้อมูลในการสัมมนาครั้งนี้จะแสดงให้เห็นว่าสามารถนำไปปรับใช้กับธุรกิจใดๆ ก็ตามที่ มุ่งขจัด 8 Waste เพื่อหาแนวทางในการลดเวลาในกระบวนการทำงาน เพื่อส่งมอบ สินค้า งาน ข้อมูล เอกสาร ให้ได้ตามเป้าหมายและ เพื่อนำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่เปี่ยมด้วยคุณภาพ
วัตถุประสงค์ (Objective)
o เพื่อให้องค์กรเกิดความตื่นตัวและเปลี่ยนระบบการทำงานสู่อนาคต
(Stimulate organization to alert for changing to the world’s most efficient working style)
o เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้เรียนรู้จาก Best practice
(Enable participants to learn from the best practice)
o เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้เข้าใจว่าองค์กรต้องมีปรัชญาและทุกคนต้องยึดมั่นทำตาม
(To provide understanding that organization needs to build philosophy and embed to employees)
o องค์กรมีความสามารถในการลดต้นทุน ลดเวลาส่งมอบสินค้าและบริการ ผลงานที่มีคุณภาพสม่ำเสมอ
(Capacity building organization in costs reduction, shortening delivery lead time and best quality)
o องค์กรเพิ่มระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน (Increasing competitiveness)
สิ่งที่ท่านจะได้เรียนรู้ (What You Will Learn)
o ความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับปรัชญาของวิถีโตโยต้า (Deep understanding in Toyota way philosophy)
o “วิถีแบบลีน” ที่กำเนิดจากโตโยต้าคือ อะไร (How LEAN is developed by Toyota?)
o โตโยต้าประสบความสำเร็จอย่างมหาศาลได้อย่างไร (How Toyota has great successful?)
o เขาพัฒนาคน พัฒนา Supplier ได้อย่างไร (How Toyota develop employees and supplies?)
o โตโยต้าสร้างการเชื่อมต่อ การไหล ของวัตถุดิบ เอกสาร ข้อมูล ได้อย่างไร (How Toyota connect flowing of material, documents and information?)
o การเขียนแผนผังสายธารแห่งคุณค่าเพื่อให้ตระหนักถึงสถานการณ์ปัจจุบัน (Value stream mapping to indentify the bottlenecks)
o ปลูกฝังคน ให้มีกฎเกณฑ์ที่ไว้ใจได้อย่างไร (How to build full discipline employee?)
o ปรัชญา 4 ข้อ ที่ส่งโตโยต้าเป็นผู้นำในการผลิตรถยนต์ (4 P are Philosophy, People, Process and Problem solving)
o 3 R (Right item, Right time, Right quantity) คือหัวใจ ของ Just in time
o แนวทางสู่ความสำเร็จอย่างยั่งยืน (The way to success and sustainable)
วิทยากร (About Speaker)
อาจารย์พิสิทธิ์ ชูยงค์ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Productivity improvement ของ องค์การสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนาการค้า UNCTAD (United Nations Conference for Trade Development) และ USAID (United State Aid for International Development) เป็นที่ปรึกษาคนหนึ่งในทีมที่ปรึกษาของ UN ที่วางแผนยุทธศาสตร์สิ่งทอ ให้กับรัฐบาลลาว เป็นผู้เชียวชาญการวางยุทธศาสตร์ Supply chain corridor ระหว่างไทยกับเวียตนาม ในสินค้าผ้าฝ้ายขององค์การ USAID (United State Agency for International Development) ของรัฐบาลสหรัฐ นอกจากนั้นอาจารย์ยังเป็นวิทยากร และที่ปรึกษา เรื่องการวางแผนยุทธศาสตร์องค์กร ด้วย Balanced scorecard ให้กับหลายสถาบันของภาครัฐ และเอกชนในประเทศไทย ในการสัมมนาครั้งนี้ อาจารย์พิสิทธิ์ ชูยงค์ จะมาร่วมแบ่งปันประสบการณ์กับท่านถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้มา
กลุ่มเป้าหมาย (Who Should Attend)
o ผู้บริหารอาวุโส
o กรรมการผู้จัดการ
o ผู้บริหารโรงงานทุกระดับ
o ผู้บริหารโรงพยาบาล ธุรกิจดูแลสุขภาพ Healthcare ทุกระดับ
o ผู้บริหารโครงการก่อสร้างทุกระดับ
o ผู้บริหาร Logistics บริษัทขนส่งทุกระดับ
o ผู้บริหารบริษัทการเงิน ธนาคาร
o ผู้บริหารสถานศึกษา
o ผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐ
o ผู้บริหารห้างสรรพสินค้า
o วิศวกรกระบวนการผลิต
o วิศวกรอุตสาหกรรม
o ผู้ทำงานเกี่ยวกับการผลิตแบบ Lean
o ผู้อบรมประจำองค์กรต่างๆ
วันที่จัดอบรม
วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน 2558
หน่วยงาน/บริษัท :
AIM Training
ชื่อผู้ติดต่อ :
ทิพย์รดา
โทร :
0868104434
Tags :
ข้อมูลผู้ลงประกาศ
หมายเลขประกาศ
2298
ลงประกาศวันที่
7 ตุลาคม 2558 เวลา 15:34 น.
หมวดหมู่หลัก
อบรม การบริหารจัดการ-กลยุทธ์ธุรกิจ
ลักษณะงาน
มีค่าใช้จ่าย
ราคา
7000
หน่วยงาน/บริษัท
AIM Training
ชื่อผู้ติดต่อ
ทิพย์รดา
เบอร์โทรศัพท์
0868104434