THE TOYOTA WAY วิถีแห่งโตโยต้า
หลักการและเหตุผล (About the Event)
ขับเคลื่อนการพัฒนาและการสร้างวัฒนธรรมการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องผ่านวิถีแห่งโตโยต้า
Driving Continuous Improvement and Innovation THE TOYOTA WAY
กระบวนการผลิตได้วิวัฒนาการมาตั้งแต่ปี 1850 เมื่อ Whitney ได้ทำชิ้นส่วนของเครื่องให้เป็นมาตรฐานสามารถใช้สับเปลี่ยนกันได้ ในปี1900 Frederick Taylor เป็นริเริ่มทำการผลิตเป็น Process ในปี 1950 Edward Deming เป็นผู้คิดทฤษฏีในการปรับปรุงคุณภาพเริ่มที่ Toyota จนกระทั่ง Toyoda และ Ono วิวัฒนาการมาเป็นระบบ TPS เราจะเห็นได้ว่า การผลิตแบบToyota คือวิวัฒนาการทางการผลิตของมวลมนุษย์ซึ่งจะมาแทนที่ระบบการทำงานแบบเดิม ดังมีสาระสำคัญคือ
- ปรัชญา “วิถีแบบโตโยต้า” คือ อะไร หลักการที่สำคัญคืออะไร (What it means to “Be Lean”)
- อะไรคือแนวทางสู่ความสำเร็จอย่างยั่งยืน (How to achieve long-term success)
- จะสร้างการไหลของวัตถุดิบ/สินค้า/คนไข้/เอกสาร/ข้อมูลในกระบวนการอย่างต่อเนื่องจากต้นน้ำสู่ปลายน้ำได้อย่างไรด้วย Value stream mapping
- 8 deadly wastes ในกระบวนการทำงาน จะปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
- หยุดระบบการทำงานแบบ Push ที่ทำให้เกิดคอขวด ใช้ระบบ Pull เพื่อให้งานไหลเร็ว
- ทำไมต้องสร้างวัฒนธรรม ”หยุด” และแก้ไขปัญหาทันที ไม่เอาไว้แก้ภายหลัง
- พัฒนาบุคลากร เพื่อพัฒนากระบวนการ สู่ Right process resulting in right Quality
- การสมดุลกระบวนการ Take time คืออะไร การวางแผนด้วย Take time ทำอย่างไร
- CI - Kaizen เริ่มที่ใคร จะนำ P-D-C-A มาใช้ในระดับฝ่าย ระดับแผนก ระดับผู้ทำงานได้อย่างไร
- Toyota Production System (TPS) ต้นกำเนิดของ Lean มีหลักการอย่างไร
แนวคิดและข้อมูลที่นำเสนอในการสัมมนาครั้งนี้ สามารถนำไปปรับใช้กับธุรกิจได้ทุกประเภท นอกจากโรงงานแล้ว ยังรวมไปถึงงานอื่น อย่างเช่น หน่วยงานภาครัฐ ห้างสรรพสินค้า สถานศึกษา โรงพยาบาล ธนาคาร สถาบันการเงิน การก่อสร้างและอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งนี้ยังมีผู้ที่มีความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องอีกเป็นอันมากว่า วิถีแบบโตโยต้าจำกัดอยู่เฉพาะการผลิตเท่านั้น แต่ข้อมูลในการสัมมนาครั้งนี้จะแสดงให้เห็นว่าสามารถนำไปปรับใช้กับธุรกิจใดๆ ก็ตามที่ มุ่งขจัด 8 Waste เพื่อหาแนวทางในการลดเวลาในกระบวนการทำงาน เพื่อส่งมอบ สินค้า งาน ข้อมูล เอกสาร ให้ได้ตามเป้าหมายและ เพื่อนำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่เปี่ยมด้วยคุณภาพ
วัตถุประสงค์ (Objective)
- เพื่อให้องค์กรเกิดความตื่นตัวและเปลี่ยนระบบการทำงานสู่อนาคต
(Stimulate organization to alert for changing to the world’s most efficient working style)
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้เรียนรู้จาก Best practice
(Enable participants to learn from the best practice)
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้เข้าใจว่าองค์กรต้องมีปรัชญาและทุกคนต้องยึดมั่นทำตาม
(To provide understanding that organization needs to build philosophy and embed to employees)
- องค์กรมีความสามารถในการลดต้นทุน ลดเวลาส่งมอบสินค้าและบริการ ผลงานที่มีคุณภาพสม่ำเสมอ
(Capacity building organization in costs reduction, shortening delivery lead time and best quality)
- องค์กรเพิ่มระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน (Increasing competitiveness)
สิ่งที่ท่านจะได้เรียนรู้ (What You Will Learn)
- ความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับปรัชญาของวิถีโตโยต้า (Deep understanding in Toyota way philosophy)
- “วิถีแบบลีน” ที่กำเนิดจากโตโยต้าคือ อะไร (How LEAN is developed by Toyota?)
- โตโยต้าประสบความสำเร็จอย่างมหาศาลได้อย่างไร (How Toyota has great successful?)
- เขาพัฒนาคน พัฒนา Supplier ได้อย่างไร (How Toyota develop employees and supplies?)
- โตโยต้าสร้างการเชื่อมต่อ การไหล ของวัตถุดิบ เอกสาร ข้อมูล ได้อย่างไร (How Toyota connect flowing of material, documents and information?)
- การเขียนแผนผังสายธารแห่งคุณค่าเพื่อให้ตระหนักถึงสถานการณ์ปัจจุบัน (Value stream mapping to indentify the bottlenecks)
- ปลูกฝังคน ให้มีกฎเกณฑ์ที่ไว้ใจได้อย่างไร (How to build full discipline employee?)
- ปรัชญา 4 ข้อ ที่ส่งโตโยต้าเป็นผู้นำในการผลิตรถยนต์ (4 P are Philosophy, People, Process and Problem solving)
- 3 R (Right item, Right time, Right quantity) คือหัวใจ ของ Just in time
- แนวทางสู่ความสำเร็จอย่างยั่งยืน (The way to success and sustainable)
วันที่จัดอบรม
วันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน 2558
หน่วยงาน/บริษัท :
AIM Training
ชื่อผู้ติดต่อ :
ทิพย์รดา
โทร :
0987500542
Tags :
ข้อมูลผู้ลงประกาศ
หมายเลขประกาศ
2152
ลงประกาศวันที่
1 สิงหาคม 2558 เวลา 11:17 น.
หมวดหมู่หลัก
อบรม การบริหารจัดการ-กลยุทธ์ธุรกิจ
ลักษณะงาน
มีค่าใช้จ่าย
ราคา
7000
หน่วยงาน/บริษัท
AIM Training
ชื่อผู้ติดต่อ
ทิพย์รดา
เบอร์โทรศัพท์
0987500542